การนำ ซีเนอร์ไดโอด(Zener Diode) ไปใช้งาน
จากคราวที่แล้วผมได้ทำการ อธิบายเกี่ยวกับตัว ซีเนอร์ไดโอด มาพอสมควรแล้ว คราวนี้เราจะมาดูการนำซีเนอร์ไดโอดมาใช้งานกันนะครับ
จากรูปที่ผมวาดนี้เป็นการนำ ซีเนอร์ไดโอดมาใช้งานแบบง่ายสุดๆไปเลยนะผมว่า
หลักการทำงานของวงจร
•วงจรมีแรงดัน Vin 12 V.Dcต่อกับตัวต้านทาน (Resistor) อนุกรมเพื่อลดกระแสลง จากนั้น เพื่อนๆจะพบกับ ซีเนอร์ไดโอด ที่มีการต่อขนานกับวงจรอยู่ นั่นหล่ะครับคือพระเอกของเรา จากวงจรจะมีการไบอัสกลับให้ ตัว ซีเนอร์ไดโอด ดังนั้น ซีเนอร์จึงนำกระแสครบวงจรทำให้แรงดันที่จ่ายมา 12 V.Dc ถูกบายพาสลงกราวออกไปสองโวลต์แรงดันจึงเหลือเพียง 10 V.Dc ตามค่าของตัวซีเนอร์ไดโอดนั่นเองครับ
ตัวผมเองหวังว่าจะเข้าใจนะครับหลังจากได้อ่านบทความนี้แล้วโชคดีครับ^_^
จากรูปที่ผมวาดนี้เป็นการนำ ซีเนอร์ไดโอดมาใช้งานแบบง่ายสุดๆไปเลยนะผมว่า
หลักการทำงานของวงจร
•วงจรมีแรงดัน Vin 12 V.Dcต่อกับตัวต้านทาน (Resistor) อนุกรมเพื่อลดกระแสลง จากนั้น เพื่อนๆจะพบกับ ซีเนอร์ไดโอด ที่มีการต่อขนานกับวงจรอยู่ นั่นหล่ะครับคือพระเอกของเรา จากวงจรจะมีการไบอัสกลับให้ ตัว ซีเนอร์ไดโอด ดังนั้น ซีเนอร์จึงนำกระแสครบวงจรทำให้แรงดันที่จ่ายมา 12 V.Dc ถูกบายพาสลงกราวออกไปสองโวลต์แรงดันจึงเหลือเพียง 10 V.Dc ตามค่าของตัวซีเนอร์ไดโอดนั่นเองครับ
ตัวผมเองหวังว่าจะเข้าใจนะครับหลังจากได้อ่านบทความนี้แล้วโชคดีครับ^_^
การนำ ซีเนอร์ไดโอด(Zener Diode) ไปใช้งาน
Reviewed by AkeRemake
on
20:52:00
Rating:
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น